วันอาทิตย์ที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2553

บทสวดอิติปิโสฯ

บทสรรเสริญ พระพุทธคุณ

อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสสะทัมมะสาระถิ
สัตถา เทวะมนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติ.

บทสรรเสริญ พระธรรมคุณ

สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหีติ.

บทสรรเสริญ พระสังฆคุณ

สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ.

บูชาพระรัตนตรัย

คำบูชาพระรัตนตรัย

อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พุทธัง ภะคะวันตัง อภิวาเทมิ. (กราบ)
สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, ธัมมังนะมัสสามิ. (กราบ)
สุปะฏิปปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สังฆัง นะมามิ. (กราบ)



บทสวดนมัสการนอบน้อมบูชาพระพุทธเจ้า


นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต, อะระหะโต, สัมมาสัมพุทธัสสะ (๓ จบ )



บทสวดพุทธานุสสติ


อิติปิโส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ, วิชชาจะระณะสัมปันโน, สุขโต โลกะวิทู, อนุตตะโร ปุริสสะทัมมะสาระถิ,
สัตถา เทวะมะนุสสานัง, พุทโธ ภะคะวาติ (กราบ)

คำบูชาพระสีวลี

คำบูชาพระสีวลี (พระฉิม)

อิมินา สักกาเรนะ สีวะลีเถรัง อะภิปูชะยามิ

เมื่อบูชาแล้วกำหนดภาวนาในใจว่า

สีวลี จะ มะหาเถโร อินโท พรัมมาจะ ปูชิตัง สัพพะลาภัง ประสิทธิเม เถรัสสะ อานุภาเวนะ สัพพะโสตถี ภะวันตุเม ฯ

คำบูชาพระสิวลี(ใช้สวดนำทุกวัน)

นะชาลีติประสิทธิลาภา ปะสันนะจิตตา สะทา โหนติ ปิยังมะมะ สัพเพชะนา พะหูชะนา สัพเพทิศา
สะมาคะตา กาละโภชะนา วิกาละโภชนา อาคัจฉันติ ปิยังมะมะ ธัมมะจักกัง ปะทัง สุตวา พุชฌิตะวา
อัตตังปะทัง สันติ อะระหาโลเก โลกานัง หิตะการะณาภันเต คะวัมปะตินามะ ตีสุ โลเก สุปากะโต พรหมะปุตโต
มะหาเถโร อะระโห เชฏฐะโก มุนิ นัตถิ เถโร สะโม อินทะคันธัพพา อะสุรา เทวาสักโก พรหมาภิปูชิโต นะโม
พุทธัสสัส คะวัมปติสสะ นะโม ธัมมัสสะ คะวัมปะติสสะ นะโม สังฆัสสะ คะวัมปะติสสะ สุกขาสุกขะ
วะรัง ธัมมัง ธัมมะจักกัง ปะวะรัง วะรัง ฯ

ยอดพระกัณฑ์ไตรปิฎก

ยอดพระกัณฑ์ไตรปิฎก


๑.อิติปิโสภะคะวา อะระหัง วัจจะโสภะคะวา ฯ อิติปิโสภะคะวา สัมมาสัมพุทโธ วัจจะโสภะคะวา ฯ
อิติปิโสภะคะวา วิชชาจะระณะสัมปันโน วัจจะโสภะคะวา ฯ อิติปิโสภะคะวา สุคะโต วัจจะโสภะคะวา ฯ
อิติปิโสภะคะวา โลกะวิทู วัจจะโสภะคะวา ฯ
๒.อะระหันตัง สะระณังคัจฉามิ อะระหันตัง สิระสานะมามิ สัมมาสัมพุทธัง สะระณังคัจฉามิ,
สัมมาสัมพุทธัง สิระสานะมามิ วิชชาจะระณะสัมปันนัง สะระณังคัจฉามิ วิชชาจะระณะสัมปันนัง สิระสานะมิ,
สุคะตัง สะระณังคัจฉามิ, สุคะตัง สิระสานะมามิ โลกะวิทัง สะระณัง คัจฉามิ, โลกะวิทัง สิระสานะมามิ
๓.อิติปิโสภะคะวา อะนุตตะโร วัจจะโสภะคะวา ฯ อิติปิโสภะคะวา ปุริสะธัมมะสาระถิ วัจจะโสภะคะวา ฯ
อิติปิโสภะคะวา สัตถา เทวะมะนุสสานัง วัจจะโสภะคะวา ฯ อิติปิโสภะคะวา พุทโธ วัจจะโสภะคะวา ฯ
๔.อะนุตตะรัง สะระณังคัจฉามิ อะนุตตะรัง สิระสานะมามิ ปุริสะทัมมะสาระถิ สะระณังคัจฉามิ,
ปุริสะทัมมะสาระถิ สิระสานะมามิ, สัตถาเทวะมะนุสสานัง สะระณังคัจฉามิ, สัตถาเทวะมะนุสสานัง

สิระสานะมามิ,พุทธัง สะระณังคัจฉามิ,พุทธัง สิระสา นะมามิ อิติปิโสภะคะวา ฯ

๕.อิติปิโสภะคะวา รูปะขันโธ อะนิจจะลักขะณะ ปาระมี จะ สัมปันโน อิติปิโสภะคะวา ฯ

อิติปิโสภะคะวา เวทะนาขันโธ อะนิจจะลักขะณะ ปาระมี จะ สัมปันโน อิติปิโสภะคะวา ฯ
อิติปิโสภะคะวา สัญญาขันโธ อะนิจจะลักขะณะ ปาระมี จะ สัมปันโน อิติปิโสภะคะวา ฯ
อิติปิโสภะคะวา สังขาระขันโธ อะนิจจะลักขะณะ ปาระมี จะ สัมปันโน อิติปิโสภะคะวา ฯ
อิติปิโสภะคะวา วิญญาณะขันโธ อะนิจจะลักขะณะ ปาระมี จะ สัมปันโน อิติปิโภะคะวา ฯ

๖.อิติปิโสภะคะวา ปะถะวีจักกะวาฬะ จาตุมะหาราชิกา ตาวะติงสา ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโน ฯ อิติปิโสภะคะวา
เตโชจักกะวาฬะ จาตุมะหาราชิกา ตาวะติงสา ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโน ฯ อิติปิโสภะคะวา วาโยจักกะวาฬะ
จาตุมะหาราชิกา ตาวะติงสา ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโน ฯ อิติปิโสภะคะวา อาโปจักกะวาฬะ จาตุมะหาราชิกา
ตาวะติงสา ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโน ฯ อิติปิโสภะคะวา อากาสะจักกะวาฬะ จาตุมะหาราชิกา ตาวะติงสา
ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโน ฯ

๗.อิติปิโสภะคะวา ยามา ธาตุสัมมาทิยานะสัมปันโน อิติปิโสภะคะวา ตุสิตา ธาตุสัมมาทิยานะสัมปันโน ฯ
อิติปิโสภะคะวา นิมมานะระติ ธาตุสัมมาทิยานะสัมปันโน อิติปิโสภะคะวา กามาวะจะระ ธาตุสัมมาทิยานะสัมปันโน ฯ
อิติปิโสภะคะวา รูปาวะจะระ ธาตุสัมมาทิยานะสัมปันโนฯ

๘.อิติปิโสภะคะวา ปะฐะมะฌานะ ธาตุสัมมาทิยานะสัมปันโน อิติปิโสภะคะวา ทุติยะฌานะ ธาตุสัมมาทิยานะสัมปันโน ฯ
อิติปิโสภะคะวา ตะติยะฌานะ ธาตุสัมมาทิยานะสัมปันโนฯ อิติปิโสภะคะวา จะตุตถะฌานะ ธาตุสัมมาทิยานะสัมปันโน ฯ

๙.อิติปิโสภะคะวา ปัญจะมะฌานะ อากาสานัญจายะตะนะ เนวะสัญญานา สัญญายะตะนะ อะรูปาวะจะระ ธาตุสัมมาทิยานะสัมปันโนฯ
อิติปิโสภะคะวา ฉะถะมะฌานะ วิญญานัญจายะตะนะ เนวะสัญญานาสัญญายะตะนะ อะรูปาวะจะระ ธาตุสัมมาทิยานะสัมปันโนฯ
อิติปิโสภะคะวา สัตตะมะฌานะ อากิญจัญญายะตะนะ เนวะสัญญานา สัญญายะตะนะ อะรูปาวะจะระ ธาตุสัมมาทิยานะสัมปันโนฯ
อิติปิโสภะคะวา อัฏฐะมะฌานะ เนวะสัญญานายะตะนะ อะรูปาวะจะระ ธาตุสัมมาทิยานะสัมปันโน ฯ

๑๐.อิติปิโสภะคะวา โสตาปัตฏิมัคคะ ธาตุสัมมาทิยานะสัมปันโน ฯ อิติปิโสภะคะวา สะกิทาคามิปัตฏิมัคคะ
ธาตุสัมมาทิยานะสัมปันโน ฯ อิติปิโสภะคะวา อะนาคามิปัตฏิมัคคะ ธาตุสัมมาทิยานะสัมปันโน ฯ
อิติปิโสภะคะวา อะระหัตตะปัตฏิมัคคะ
ธาตุสัมมาทิยานะสัมปันโน ฯ

๑๑.อิติปิโสภะคะวา โสตา อะระหัตตะ ปัตฏิผะละ ธาตุสัมมาทิยานะสัมปันโน ฯ อิติปิโสภะคะวา สะกิทาคามิ
อะระหัตตะ ปัตฏิผะละ ธาตุสัมมาทิยานะสัมปันโน ฯ อิติปิโสภะคะวา อะนาคามิ อะระหัตตะ ปัตฏิผะละ ธาตุสัมมาทิยานะสัมปันโน ฯ

๑๒.กุสะลาธัมมา อิติปิโสภะคะวา อะอายาวะชีวัง พุทธัง สะระณังคัจฉามิ ชมภูทิปัญจะอิสสะโร กุสะลาธัมมา
นะโมพุทธายะ นะโมธัมมายะ นะโมสังฆายะ ปัญจะพุทธานะมามิหัง อาปามะจุปะที มะสังอังคุ สังวิธาปุกะยะปะ
อุปะสะชะ สุเหปาสา ยะโสโส สะสะ อะอะอะอะ นิเตชะสุเน มะภูจะนาวิเว อะสังวิสุโร ปุสะภุพะ อิสะวาสุ สุสะวาอิ
กุสะลาธัมมา จิตติวิอัตถิ ฯ

๑๓.อิติปิโสภะคะวา อะระหัง อะอายาวะชีวัง พุทธัง สะระณังคัจฉามิ สาโพธิปัญจะ อิสะโรธัมมา ฯ

๑๔.กุสะลาธัมมา นันทะวิวังโก อิติสัมมาสัมพุทโธ สุคะลาโนยาวะชีวัง พุทธัง สะระณังคัจฉามิ จาตุมะหาราชิกา
อิสะโรกุสะลาธัมมา อิติวิชชาจะระณะสัมปันโน อุอุยาวะ ตาวะติงสา อิสะโรกุสะลาธัมมา นันทะปัญจะสุคะโตโลกะวิทู
มะหาเอโอ ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณังคัจฉามิ ยามาอิสะโร กุสะลาธัมมา พรหมมา สัททะปัญจะ สัตตะสัตตา ปาระมีอะนุตตะโร
ยะมะกะขะยาวะชีวัง พุทธัง สะระณังคัจฉามิ ฯ

๑๕.ตุสิตา อิสะโร กุสะลาธัมมา ปุยะปะกะ ปุริสะทัมมะสาระถิ ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณังคัจฉามิ ฯ

๑๖.นิมมานะระติ อิสะโร กุสะลาธัมมา เหตุโปวะ สัตถาเทวะมะนุสสานัง ตะถะยาวะชีวัง พุทธัง สะระณังคัจฉามิ ฯ

๑๗.ปะระนิมมิตตะอิสสะโร กุสะลาธัมมา สังขาระขันโธ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา รูปะขันโธ พุทธะ ปะผะยาวะชีวัง
พุทธัง สะระณังคัจฉามิ ฯ

๑๘.พรหมมาอิสสะโร กุสะลาธัมมา นัจจิปัจจะยา วินะปัญจะ ภะคะวะตา ยาวะนิพพานัง สะระณังคัจฉามิ นะโมพุทธัสสะ
นะโมธัมมัสสะ นะโมสังฆัสสะ พุทธิลา โลกะลา กะระกะนา เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิโหนตุ หุลู หุลู หุลู สะวาหายะ ฯ

๑๙.นะโมพุทธัสสะ นะโมธัมมัสสะ นะโมสังฆัสสะ วิตติ วิตติ วิตติ มิตติ มิตติ จิตติ จิตติ อัตติ อัตติ มะยะสุ สุวัตถิโหนตุ
หุลู หุลู หุลู สะวาหายะ ฯ

๒๐.อินทะสาวัง มะหาอินทะสาวัง พรหมมะสาวัง มะหาพรหมมะสาวัง จักกะวัตติสาวัง มะหาจักกะวัตติสาวัง เทวาสาวัง
มะหาเทวาสาวัง อิสิสาวัง มะหาอิสิสาวัง มุนีสาวัง มะหามุนีสาวัง สัปปุริสาวัง มะหาสัปปุริสาวัง พุทธะสาวัง ปัจเจกะพุทธะสาวัง
อะระหัตตะสาวัง สัพพะสิทธิ วิชชาธะรานังสาวัง สัพพะโลกา อิริยานังสาวัง เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิโหตุ ฯ

๒๑.สาวังคุณัง วะชะพะลังเตชัง วิริยังสิทธิกัมมัง นิพพานัง โมกขัง คุยหะกังถานังสีลัง ปัญญานิกขัง ปุญญัง ภาขะยัง
ตัปปังสุขังสิริรูปัง กุวิสะสะติเสนัง เอเตนะสัจเจนะ สุวัตถิโหนตุ หุลู หุลู หุลู สะวาหายะ ฯ

๒๒.นะโม พุทธัสสะ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา รูปะขันโธ เวทะนาขันโธ สัญญาขันโธ สังขาระขันโธ วิญญาณะขันโธ
นะโม อิติปิโส ภะคะวา ฯ

๒๓.นะโม พุทธัสสะ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา รูปะขันโธ เวทะนาขันโธ สัญญาขันโธ สังขาระขันโธ วิญญาณะขันโธ
นะโม สวากขาโต ภะคะวะตาธัมโม

๒๔.นะโม ธัมมัสสะ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา รูปะขันโธ เวทะนาขันโธ สัญญาขันโธ สังขาระขันโธ วิญญาณะขันโธ
นะโม สวากขาโต ภะคะวะตาธัมโม

๒๕.นะโม ธัมมัสสะ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา รูปะขันโธ เวทะนาขันโธ สัญญาขันโธ สังขาระขันโธ วิญญาณะขันโธ
นะโม สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ

๒๖.นะโม สังฆัสสะ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา รูปะขันโธ เวทะนาขันโธ สัญญาขันโธ สังขาระขันโธ วิญญาณะขันโธ
นะโม สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ วาหะปะริตตัง ฯ

๒๗.นะโม พุทธายะ มะอะอุ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา ยาวะตัสสะหาโย นะโม อุอะมะ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา อุอะมะอา
วันทา นะโมพุทธายะ นะอะกะติ นิสะระนะ อาระ ปะขุธัง มะอะอุ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา ฯ
คำแปล

๑. พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น เป็นผู้ไกลจากกิเลส พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยความรู้และความประพฤติ
พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น เป็นผู้รู้แจ้งโลก พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น เป็นผู้ตรัสรู้เองโดยชอบ พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น
เป็นผู้เสด็จไปดีแล้ว

๒. ข้าพเจ้าขอถึงพระองค์ผู้เป็นพระอรหันต์ว่า เป็นที่พึ่งกำจัดภัยได้จริง ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระองค์ผู้เป็นพระอรหันต์
ด้วยเศียรเกล้า ข้าพเจ้าขอถึงพระองค์ผู้ทรงตรัสรู้เองโดยชอบว่า เป็นที่พึ่งกำจัดภัยได้จริง ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระองค์ผู้ทรงตรัสรู้เอง ด้วยเศียรเกล้า ข้าพเจ้าขอถึงพระองค์ผู้ถึงพร้อมด้วยความรู้และความประพฤติ ว่าเป็นที่พึ่งกำจัดภัยได้จริง
ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระองค์ผู้ถึงพร้อมด้วยความรู้และความประพฤติ ด้วยเศียรเกล้า ข้าพเจ้าขอถึงพระองค์ผู้เสด็จไปดีแล้ว
ว่าเป็นที่พึ่งกำจัดภัยได้จริง ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระองค์ผู้เสด็จไปดีแล้ว ด้วยเศียรเกล้า ข้าพเจ้าขอถึงพระองค์ผู้รู้แจ้งโลก
ว่าเป็นที่พึ่งกำจัดภัยได้จริง ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระองค์ผู้รู้แจ้งโลก ด้วยเศียรเกล้า

๓. พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น เป็นอนุตตะโร คือ ยอดเยี่ยม พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น เป็นศาสดาของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย
พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น เป็นนายสารถีผู้ฝึกบุรุษ พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น เป็นผู้ตื่นจากกิเลส

๔. ข้าพเจ้าขอถึงพระองค์ผู้ยอดเยี่ยม ว่าเป็นที่พึ่งกำจัดภัยได้จริง ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระองค์ผู้ยอดเยี่ยม ด้วยเศียรเกล้า
ข้าพเจ้าขอถึงพระองค์ผู้เป็นนายสารถีผู้ฝึกบุรุษ ว่าเป็นที่พึ่งกำจัดภัยได้จริง ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระองค์ผู้เป็นนายสารถีผู้ฝึกบุรุษ ด้วยเศียรเกล้า ข้าพเจ้าขอถึงพระองค์ผู้เป็นศาสดาของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลายว่าเป็นที่พึ่ง กำจัดภัยได้จริง ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระองค์ผู้เป็น ศาสดาของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ด้วยเศียรเกล้า ข้าพเจ้าขอถึงพระองค์ผู้ตื่นจากกิเลส
ว่าเป็นที่พึ่งกำจัดภัยได้จริง ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระองค์ผู้ตื่นจากกิเลส ด้วยเศียรเกล้า

๕. พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น รูปขันธ์ เป็นอนิจจลักษณะ แต่พระบารมีถึงพร้อมแล้ว พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น เวทนาขันธ์
เป็นอนิจจลักษณะ แต่พระบารมีถึงพร้อมแล้ว พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น สัญญาขันธ์ เป็นอนิจจลักษณะ แต่พระบารมีถึงพร้อมแล้ว
พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น สังขารขันธ์ เป็นอนิจจลักษณะ แต่พระบารมีถึงพร้อมแล้ว พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น วิญญาณขันธ์
เป็นอนิจจลักษณะ แต่พระบารมีถึงพร้อมแล้ว

๖. พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ คือ ดินจักรวาล เทวโลกชั้นจาตุมหาราชิกาและชั้นดาวดึงส์
พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ คือ ไฟจักรวาล เทวโลกชั้นจาตุมหาราชิกาและชั้นดาวดึงส์
พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ คือ ลมจักรวาล เทวโลกชั้นจาตุมหาราชิกาและชั้นดาวดึงส์
พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ คือ น้ำจักรวาล เทวโลกชั้นจาตุมหาราชิกาและชั้นดาวดึงส์
พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ คือ อากาศจักรวาล เทวโลกชั้นจาตุมหาราชิกาและชั้นดาวดึงส์

๗. พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ คือ สวรรค์ชั้นยามา พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น
ดี พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ อันเป็นไปในกามาวจรภูมิ พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น
ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ อันเป็นไปในรูปาวจรภูมิ

๘. พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ คือ ปฐมญาน พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น
ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ คือ ทุติยญาน พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ คือ
ตติยญาน พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ คือ จตุตถญาน พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น
ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ คือ ปัญจมญาน

๙. พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ อันเป็นไปในอรูปาวจรภูมิ คือ อากาสานัญจายตนะและเนวสัญญานาสัญญายตนะ พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ อันเป็นไปในอรูปาวจรภูมิ คือ
วิญญาณัญจายตนะและเนวสัญญานาสัญญายตนะ พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ
อันเป็นไปในอรูปาวจรภูมิ คือ อากิญจัญญายตนะและเนวสัญญานาสัญญายตนะ

๑๐. พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ คือ พระโสดาปัตติมรรค พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น
ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ คือ พระสกิทาคามิมรรค พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ
คือ พระอนาคามิมรรค พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ คือ พระอรหัตตมรรค

๑๑. พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ คือ พระโสดาปัตติผล และ พระอรหัตตผล พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น
ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ คือ พระสกิทาคามิผล และ พระอรหัตตผล พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ทรงถึงพร้อมด้วยธรรมที่เป็นธาตุ คือ พระอนาคามิผล และ พระอรหัตตผล

๑๒. ธรรมะฝ่ายกุศล พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ข้าพเจ้าขอถึงพระพุทธเจ้า ว่าเป็นที่พึ่งตลอดชีวิต พระผู้มีพระภาคเจ้า
ผู้เป็นอิสสระแห่งชมภูทวีป ธรรมะฝ่ายกุศล ขอนอบน้อมแด่พระพุทธเจ้า ขอนอบน้อมแด่พระธรรมเจ้า ขอนอบน้อมแด่พระสังฆเจ้า ข้าพเจ้าขอนอบน้อมแด่พระพุทธเจ้าห้าพระองค์ ด้วยหัวใจพระวินัยปิฎก ด้วยหัวใจพระสุตตันตปิฎก ด้วยหัวใจพระอภิธรรมปิฎก ด้วยมนต์คาถา ด้วยหัวใจมรรคสี่ ผลสี่ และ นิพพานหนึ่ง ด้วยหัวใจพระเจ้าสิบชาติทรงแสดงการบำเพ็ญบารมีสิบ ด้วยหัวใจพระพุทธคุณเก้า ด้วยหัวใจพระไตรรัตนคุณ ธรรมะฝ่ายกุศล มีนัยอันวิจิตรพิสดาร

๑๓. พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น เป็นผู้ไกลจากกิเลส ข้าพเจ้าขอถึงพระพุทธเจ้า ว่าเป็นที่พึ่งตลอดชีวิต

๑๔. ธรรมะฝ่ายกุศล ของผู้มีพระภาคเจ้า เป็นผู้ตรัสรู้เองโดยชอบ ข้าพเจ้าขอถึงพระพุทธเจ้า ว่าเป็นที่พึ่งตลอดชีวิต เป็นอิสสระถึงเทวโลกชั้นจาตุมหาราชิกา ธรรมะฝ่ายกุศล พระผู้มีพระภาคเจ้า เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยความรู้และความประพฤติ ข้าพเจ้าขอถึงพระพุทธเจ้า ว่าเป็นที่พึ่งตลอดชีวิต เป็นอิสสระถึงสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ ธรรมะฝ่ายกุศล พระพุทธเจ้าเป็นผู้เสด็จไปดีแล้ว เป็นผู้รู้แจ้งโลก ข้าพเจ้าขอถึงพระพุทธเจ้า ว่าเป็นที่พึ่งตลอดชีวิต เป็นอิสสระถึงสวรรค์ชั้นยามา ธรรมะฝ่ายกุศล ด้วยความศรัทธาต่อพระพรหม ด้วยพระบารมีอันยอดเยี่ยมของพระโพธิสัตว์ทั้งห้า ข้าพเจ้าขอถึงพระพุทธเจ้า ว่าเป็นที่พึ่งตลอดชีวิต

๑๕. ธรรมะฝ่ายกุศล พระผู้มีพระภาคเจ้า ผู้เป็นนายสารถีผู้ฝึกบุรุษ ข้าพเจ้าขอถึงพระพุทธเจ้า ว่าเป็นที่พึ่งตลอดชีวิต เป็นอิสสระถึงสวรรค์ชั้นดุสิต

๑๖. ธรรมะฝ่ายกุศล พระผู้มีพระภาคเจ้า พระองค์ผู้เป็นศาสดาของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ข้าพเจ้าขอถึงพระพุทธเจ้า ว่าเป็นที่พึ่งตลอดชีวิต เป็นอิสสระถึงสวรรค์ชั้นนิมมานรดี

๑๗. ธรรมฝ่ายกุศล พระผู้มีพระภาคเจ้า เป็นผู้รู้แจ้ง สังขารขันธ์ รูปขันธ์ เป็นของไม่เที่ยง เป็นความทุกข์ มิใช่เป็นตัวตนของเราจริง ข้าพเจ้าขอถึงพระพุทธเจ้า ว่าเป็นที่พึ่งตลอดชีวิต เป็นอิสสระถึงสวรรค์ชั้นปรนิมมิตตวสวัสดี

๑๘. ธรรมะฝ่ายกุศล ข้าพเจ้าขอถึงพระพุทธเจ้า ว่าเป็นที่พึ่งตลอดชีวิต เป็นอิสสระถึงสวรรค์ชั้นพรหมโลก ข้าพเจ้าขอนอบน้อมแด่พระพุทธเจ้า ขอนอบน้อมแด่พระธรรมเจ้า ขอนอบน้อมแด่พระสังฆเจ้า ด้วยคำสัตย์ปฏิญาณนี้ ขอความสุขสวัสดี จงมีแก่ข้าพเจ้าด้วยเถิด ข้าพเจ้าขอถึงพระพุทธเจ้าว่าเป็นที่พึ่งตราบเข้าสู่พระนิพพาน

๑๙. ข้าพเจ้าขอนอบน้อมแด่พระพุทธเจ้า ขอนอบน้อมแด่พระธรรมเจ้า ขอนอบน้อมแด่พระสังฆเจ้า ด้วยการสวดมนต์พระคาถานี้ ขอความสุขสวัสดีจงมีแก่ข้าพเจ้าด้วยเถิด

๒๐. ด้วยการสวดพระคาถามหาทิพมนต์นี้ และด้วยการกล่าวคำสัตย์ปฏิญาณนี้ ขอความสุขสวัสดีจงมีแก่ข้าพเจ้าด้วยเถิด

๒๑. ด้วยการสวดพระคาถามหาทิพมนต์นี้ และด้วยการกล่าวคำสัตย์ปฏิญาณนี้ ขอความสุขสวัสดีจงมีแก่ข้าพเจ้าด้วยเถิด

๒๒. ข้าพเจ้าขอนอบน้อมแด่พระพุทธเจ้า ผู้เข้าถึงรูปขันธ์ เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ วิญญาณขันธ์ เป็นทุกข์ ไม่เที่ยง
มิใช่ตัวตนของเราจริง ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น

๒๓. ข้าพเจ้าขอนอบน้อมแด่พระพุทธเจ้า ผู้เข้าถึงรูปขันธ์ เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ วิญญาณขันธ์ เป็นทุกข์ ไม่เที่ยง
มิใช่ตัวตนของเราจริง ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระธรรม ที่พระพุทธเจ้าตรัสไว้ดีแล้ว

๒๔. ข้าพเจ้าขอนอบน้อมแด่พระธรรมเจ้า รูปขันธ์ เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ วิญญาณขันธ์ เป็นทุกข์ ไม่เที่ยง
มิใช่ตัวตนของเราจริง ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระธรรมที่พระพุทธเจ้าตรัสไว้ดีแล้ว

๒๕. ข้าพเจ้าขอนอบน้อมแด่พระธรรมเจ้า รูปขันธ์ เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ วิญญาณขันธ์ เป็นทุกข์ ไม่เที่ยง
มิใช่ตัวตนของเราจริง ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระสงฆ์ สาวกของพระพุทธเจ้า ผู้ปฏิบัติดีแล้ว

๒๖. ข้าพเจ้าขอนอบน้อมแด่พระสังฆเจ้า รูปขันธ์ เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ วิญญาณขันธ์ เป็นทุกข์ ไม่เที่ยง
มิใช่ตัวตนของเราจริง ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระสงฆ์ สาวกของพระพุทธเจ้า ผู้ปฏิบัติดีแล้ว

๒๗. ข้าพเจ้าขอนอบน้อมแด่พระพุทธเจ้า ด้วยคำสอนของ พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ ความไม่เที่ยง เป็นทุกข์
มิใช่ตัวตนของเราจริง ข้าพเจ้าขอกราบไหว้พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ ข้าพเจ้าขอนอบน้อมแด่พระพุทธเจ้า
ด้วยพระธรรมคำสั่งสอน ความไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มิใช่ตัวตนของเราจริง

พระคาถามงกุฏพระพุทธเจ้า

พระคาถามงกุฏพระพุทธเจ้า

อิติปิโส วิเสเสอิ อิเสเส พุทธะนาเมอิ

อิเมนา พุทธะตังโสอิ อิโสตัง พุทธะปิติอิ

คาถาพระเจ้า ๕ พระองค์

ของหลวงพ่อโสธร ตั้งนโม 3 จบ
นะ ทรงฟ้า โม ทรงดิน พุทธ ทรงสินธุ์ ธา ทรงสมุทร ยะ ทรงอากาศ
พุทธังแคล้วคลาด ธัมมังแคล้วคลาด สังฆังแคล้วคลาด ศัตรูภัยพาล
วินาศสันติ นะกาโร กุกกุสันโธ สิโรมัชเฌ โมกาโร โกนาคะมะโน นานาจิตเต พุทธกาโร
กัสสะโป พุทโธ จะ ทะเวเนเต ธา กาโร ศรีศากะยะมุนี โคตะโม ยะกันเน ยะกาโร อะริยะ
เมตตรัยโย ชิวหาทีเต ปัญจะพุทธา นะมามิหัง

พระคาถาพระพุทธเจ้า ๑๖ พระองค์

นะ มะ นะ อะ นอ กอ นะ กะ กอ ออ นอ อะ

นะ อะ กะ อัง อุมิอะมิ มะหิ สุ ตัง สุ นะ พุทธัง สุ อะ นะ อะ นะมามิหัง

บทนมัสการพระพุทธเจ้าทั้ง ๒๘ พระองค์

นะโม เม สัพพะพุทธานัง ตัณหังกะโร มะหาวีโร สะระณังกะโร โลกะหิโต โกณฑัญโญ ชะนะปาโมกโข
สุมะโน สุมะโน ธีโร ปะทุโม โลกะปัชโชโต ปะทุมุตตะโร สัตตะสาโร สุชาโต สัพพะโลกัคโค อัตถะทัสสี
การุณิโก สิทธัตโถ อะสะโม โลเก ปุสโส จะ วะระโท พุทโธ สิขี สัพพะหิโต สัตถา กะกุสันโธ สัตถะวาโห
กัสสะโป สิริสัปปันโน เตสาหัง สิระสา ปาเท วะจะสา มะนะสา เจวะ อะโนมะ ทัสสี ชะนุตตะโม สะยะเน
อาสะเน ฐาเน อุปปันนานัง มะเหสินัง เมธังกะโร มะหายะโส ทีปังกะโร ชุตินธะโร มังคะโล ปุริสาสะโภ
เรวะโต ระติวัฑฒะโน นาระโท วาระสาระถี สุเมโธ อัปปะฏิบุคคะโล ปิยะทัสสี นะราสะโภ ธัมมะทัสสี
ตะโมนุโท ติสโส จะ วะทะตัง วะโร วิปัสสี จะ อะนูปะโม เวสสะภู สุขะทายะโก โกนาคะมะโน ระณัญชะโห
โคตะโม สักยะปุงคะโวฯ วันทามิ ปุริสุตตะเม โสภิโต คุณะสัมปันโน วันทาเมเต ตะถาคะเต คะมเน จาปิ สัพพะทา

มงคลจักรวาฬทั้ง 8 ทิศ

สิริธิติมะติเตโชชะยะสิทธิมะหิทธิมะหาคุณาปะริมิตะปุญญาธิการัสสะ สัพพันตะรายะนิวาระณะสะมัตถัสสัส
ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ ทวัตติงสะมะหาปุริสะลักขะณานุภาเวนะ อะสีตยานุพยัญชะนานุภาเวนะ
อัฏฐุตตะระสะตะมังคะลานุภาเวนะ ฉัพพัณณะรังสิยานุภาเวนะ เกตุมาลานุภาเวนะ ทะสะปาระมิตานุภาเวนะ
ทะสะอุปะปาระมิตานุภาเวนะ ทะสะปะระมัตถะปาระมิตานุภาะเวนะ สีละสะมาธิปัญญานุภาเวนะ
พุทธานุภาเวนะ ธัมมานุภาเวนะ สังฆานุภาเวนะ เตชานุภาเวนะ อิทธานุภาเวนะ พะลานุภาเวนะ เญยยะธัมมานุภาเวนะ
จะตุราสีติสะหัสสะ ธัมมักขันธานุภาเวนะ นะวะโลกุตตะระธัมมานุภาเวนะ อัฏฐังคิกะมัคคานุภาเวนะ
อัฏฐะสะมาปัตติยานุภาเวนะ ฉะฬะภิญญานุภาเวนะ จะตุสัจจะญาณานุภาเวนะ ทะสะพะละญาณานุภาเวนะ
สัพพัญญุตะญาณานุภาเวนะ เมตตากะรุณามุทิตาอุเปกขานุภาเวนะ สัพพะปะริตตานุภาเวนะ
ระตะนัตตะยะสะระณานุภาเวนะ ตุยหัง สัพพะโรคะโสกุปัททะวะทุกขะโทมะนัสสุปายาสา วินัสสันตุ
สัพพะอันตะรายาปิ วินัสสันตุ สัพพะสังกัปปา ตุยหัง สะมิชฌันตุ ทีฆายุตา ตุยหัง โหตุ สะตะวัสสะชีเวนะ
สะมังคิโก โหตุ สัพพะทา ฯ อากาสะปัพพะตะวะนะภูมิคังคามะหาสะมุททา อารักขะกา เทวะตา สะทา ตุมเห อะนุรักขันตุ ฯ

ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา
สัพพะพุทธานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต
ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา
สัพพะธัมมานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต
ภะวะตุ สัพพะ มังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา
สัพพะสังฆานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ฯ
นักขัตตะยักขะภูตานัง ปาปัคคะหะนิวาระณา
ปะริตตัสสานุภาเวนะ หันตวา เตสัง อุปัททะเว
นักขัตตะยักขะภูตานัง ปาปัคคะหะนิวาระณา
ปะริตตัสสานุภาเวนะ หันตวา เตสัง อุปัททะเว
นักขัตตะยักขะภูตานัง ปาปัคคะหะนิวาระณา
ปะริตตัสสานุภาเวนะ หันตวา เตสัง อุปัททะเว ฯ

เทวะตาอุยโยชะนะคาถา

ทุกขัปปัตตา จะ นิททุกขา ภะยัปปัตตา จะ นิพภะยา
โสกัปปัตตา จะ นิสโสกา โหนตุ สัพเพปิ ปาณิโน
เอตตาวะตา จะ อัมเหหิ สัมภะตัง ปุญญะสัมปะทัง
สัพเพ เทวานุโมทันตุ สัพพะสัมปัตติสิทธิยา
ทานัง ทะทันตุ สัทธายะ สีลัง รักขันตุ สัพพะทา
ภาวะนาภิระตา โหนตุ คัจฉันตุ เทวะตาคะตา ฯ
สัพเพ พุทธา พะลัปปัตตา ปัจเจกานัญจะ ยัง พะลัง
อะระหันตานัญจะ เตเชนะ รักขัง พันธามิ สัพพะโส ฯ

เมตตานิสังสะสุตตะปาโฐ

เอวัมเม สุตัง ฯ เอกัง สะมะยัง ภะคะวา สาวัตถิยัง วิหะระติ เชตะวะเน อะนาถะปิณฑิกัสสะ อาราเม ฯ
ตัตระ โข ภะคะวา ภิกขู อามันเตสิ ภิกขะโวติ ฯ ภะทันเตติ เต ภิกขู ภะคะวะโต ปัจจัสโสสุง ภะคะวา เอตะทะโวจะ ฯ

เมตตายะ ภิกขะเว เจโตวิมุตติยา อาเสวิตายะ ภาวิตายะ พะหุลีกะตายะ ยานีกะตายะ วัตถุกะตายะ อะนุฏฐิตายะ
ปะริจิตายะ สุสะมารัทธายะ เอกาทะสานิสังสา ปาฏิกังขา ฯ กะตะเม เอกาทะสะ ฯ สุขัง สุปะติ สุขัง ปะฏิพุชฌะติ ฯ นะ
ปาปะกัง สุปินัง ปัสสะติ ฯ มะนุสสานัง ปิโย โหติ ฯ อะมะนุสสานัง ปิโย โหติฯ เทวะตา รักขันติ ฯ นาสสะ อัคคิ วา วิสัง วา
สัตถัง วา กะมะติ ฯ ตุวะฏัง จิตตัง สะมาธิยะติ ฯ มุขะวัณโณ วิปปะสีทะติ ฯ อะสัมมุฬโห กาลัง กะโรติฯ อุตตะริง
อัปปะฏิวิชฌันโต พรัหมะโลกูปะโค โหติ ฯ

เมตตายะ ภิกขะเว เจโตวิมุตติยา อาเสวิตายะ ภาวิตายะ พะหุลีกะตายะ ยานีกะตายะ วัตถุกะตายะ อะนุฏฐิตายะ
ปะริจิตายะ สุสะมารัทธายะ อิเม เอกาทะสานิสังสา ปาฏิกังขาติ ฯ อิทะมะโวจะ ภะคะวา ฯ อัตตะมะนา เต ภิกขู
ภะคะวะโต ภาสิตัง อะภินันทุนติ ฯ

พุทธมังคลคาถา ของสมเด็จพระพุฒาจารย์ โต พรหมรังสี

พุทธมังคลคาถา ( สวดทุกวัน)
สัมพุทโธ ทิปะทัง เสฏโฐ นิสินโน เจวะ มัชฌิเม โกณฑัญโญ
ปุพพะภาเค จะ อาคเณยเย จะ กัสสะโป สารีปุตโต จะ ทักขิเณ หะระติเย
อุปาลิ จะ ปัจฉิเมปิ จะ อานันโท พายัพเพ จะ ควัมปะติ
โมคคัลลาโน จะ อุตตะเร อีสาเนปิ จะ ราหุโล
อิเม โข มังคะลา พุทธา สัพเพ อิธะ ปะติฏฐิตา
วันทิตา เต จะ อัมเหหิ สักกาเรหิ จะ ปูชิตา เอเตสัง อานุภาเวนะ
สัพพะโสตถี ภะวันตุโนอิจเจวะมัจจันตะนะมัสสะเนยยัง
นะมัสสะมาโน ระตะนัตตะยังยัง
ปุญญาภิสันทัง วิปุลัง อะลัตถัง
ตัสสานุภาเวนะ หะตันตะราโย

พุทธมังคลคาถานี้ หรือเรียกว่า คำนมัสการบูชาพระอรหันต์แปดทิศ
ล้วนแต่มีฤทธิ์ทุกองค์ เป็นมหาเถระผู้ยิ่งใหญ่ในทางพระพุทธศาสนา
เมื่อทำการสวดบูชาแล้ว ย่อมจะมีลาภผลเป็นมิ่งมงคล
และปราศจากอันตราย

มงคลจักรวาฬใหญ่

* บทสวด

สิริธิติมะติเตโชชะยะสิทธิมะหิทธิมะหาคุณาปะริมิตะปุญญาธิการัสสะ
สัพพันตะรายะนิวาระณะสะมัตถัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
ทวัตติงสะมะหาปุริสะลักขะณานุภาเวนะ
อะสีตยาพยัญชะนานุภาเวนะ
อัฏฐุตตะระสะตะมังคะลานุภาเวนะ
ฉัพพัณณะรังสิยานุภาเวนะ
เกตุมาลานุภาเวนะ
ทะสะปาระมิตานุภาเวนะ
ทะสะอุปะปาระมิตานุภาเวนะ
ทะสะปะระมัตถะปาระมิตานุภาเวนะ
สีละสะมาธิปัญญานุภาเวนะ
พุทธานุภาเวนะ
ธัมมานุภาเวนะ
สังฆานุภาเวนะ
เตชานุภาเวนะ
อิทธานุภาเวนะ
พะลานุภาเวนะ
เญยยะธัมมานุภาเวนะ
จะตุราสีติสะหัสสะธัมมักขันธานุภาเวนะ
นะวะโลกุตตะระธัมมานุภาเวนะ
อัฏฐังคิกะมัคคานุภาเวนะ
อัฎฐะสะมาปัตติยานุภาเวนะ
ฉะฬะภิญญานุภาเวนะ
จะตุสัจจะญาณานุภาเวนะ
ทะสะพะละญาณานุภาเวนะ
สัพพัญญุตะญาณานุภาเวนะ
เมตตากะรุณามุทิตาอุเปกขานุภาเวนะ
สัพพะปะริตตานุภาเวนะ
ระตะนัตตะยะสะระณานุภาเวนะ
ตุยหัง สัพพะโรคะโสกุปัททะวะทุกขะโทมะนัสสุปายาสาวินัสสันตุ
สัพพะอันตะรายาปิ วินัสสันตุ
สัพพะสังกัปปา ตุยหัง สะมิชฌันตุ
ฑีฆายุตา ตุยหัง โหตุ
สะตะวัสสะชีเวนะ สะมังคิโก โหตุ สัพพะทาฯ
อากาสะปัพพะตะวะนะภูมิคังคามะหาสะมุททา อารักขะ
กา เทวะตา สะทา ตุมเห อะนุรักขันตุฯ

นักขัตตะยักขะภูตานัง ปาปัคคะหะนิวาระณา
ปะริตตัสสานุภาเวนะ หันตวา เตสัง อุปัททะเว

นักขัตตะยักขะภูตานัง ปาปัคคะหะนิวาระณา
ปะริตตัสสานุภาเวนะ หันตวา เตสัง อุปัททะเว

นักขัตตะยักขะภูตานัง ปาปัคคะหะนิวาระณา
ปะริตตัสสานุภาเวนะ หันตวา เตสัง อุปัททะเวฯ

* คำแปล

ด้วยอานุภาพแห่งพระมหาปุริสลักษณะ ๓๒ ประการ แห่งพระผู้มีพระภาคเจ้าผู้เป็นพระอรหันต์ผู้ตรัสรู้ชอบโดยพระองค์เอง
ผู้มีบุญญาธิการอันกำหนดมิได้ ด้วยพระฤทธิ์อันใหญ่ และพระคุณอันใหญ่
สำเร็จด้วยพระสิริ พระปัญญาเป็นเครื่องตั้งมั่น พระปัญญาเป็นเครื่องรู้ พระเดชและพระชัย ผู้สามารถห้ามสรรพอันตราย
ด้วยอานุภาพแห่งอนุพยัญชนะ ๘๐ ด้วยอานุภาพแห่งมงคล ๑๐๘ ประการ ด้วยอานุภาพแห่งพระรัศมีมีพรรณ ๖ ประการ
ด้วยอานุภาพแห่งพระเกตุมาลา
ด้วยอานุภาพแห่งพระบารมี ๑๐ ประการ ด้วยอานุภาพแห่งพระอุปปารมี ๑๐ ประการ ด้วยอานุภาพแห่งพระปรมัตถปารมี ๑๐ ประการ
ด้วยอานุภาพแห่งศีล สมาธิ ปัญญา ด้วยอานุภาพแห่งพระพุทธรัตนะ ด้วยอานุภาพแห่งพระธรรมรัตนะ ด้วยอานุภาพแห่งพระสังฆรัตนะ
ด้วยอานุภาพแห่งพระเดช ด้วยอานุภาพแห่งพระฤทธิ์ ด้วยอานุภาพแห่งพระกำลัง ด้วยอานุภาพแห่งพระเญยยธรรม
ด้วยอานุภาพแห่งพระธรรมขันธ์ ๘ หมื่น ๔ พัน ด้วยอานุภาพแห่งโลกุตตรธรรม ๙ ประการ ด้วยอานุภาพแห่งอริยมรรค ๘ ประการ
ด้วยอานุภาพแห่พระสมาบัติ ๘ ประการ ด้วยอานุภาพแห่งพระอภิญญา ๖ ประการ ด้วยอานุภาพแห่งพระญาณในสัจจะ ๔
ด้วยอานุภาพแห่งพระญาณมีกำลัง ๑๐ ประการ ด้วยอานุภาพแห่งพระสัพพัญญุตญาณ
ด้วยอานุภาพแห่งพระเมตตา พระกรุณา พระมุทิตา พระอุเบกขา แห่งพระปริตรทั้งปวงด้วยอานุภาพแห่งอันระลึกถึงพระรัตนตรัย
แม้เหล่าโรค โศก อุปัทวะ ทุกข์ โทมนัส อุปยาส ทั้งปวง ของท่าน จงสิ้นสูญไป แม้เหล่าอันตรายทั้งปวง จงสิ้นสูญไป
สรรพดำริทั้งหลายของท่านจงสำเร็จด้วยดี ความเป็นผู้มีอายุยืนจงมีแก่ท่าน ท่านจงเป็นผู้มีความพร้อมเพรียงด้วยความเป็นอยู่สิ้น ๑๐๐ ปี ทุกเมื่อ
เทพเจ้าทั้งหลาย ผู้คุ้มครองสถิตย์อยู่ในอากาศและบรรพตไพรสณฑ์ ภูมิสถาน
แม่น้ำคงคามหาสมุทร จงตามรักษาท่านทั้งหลายทุกเมื่อ เทอญฯ

พระคาถาบูชาดวงประจำวันทั้ง 7 วัน

วันจันทร์ อิ ระ ชา คะ ตะ ระ สา ชื่อคาถากระทู้เจ็ดแบก ใช้ทางคงกระพัน สวดวันละ 15 จบ

วันอังคาร ติ หัง จะ โต โร ถิ นัง ชื่อคาถาพ่นเสน่ห์หา ใช้ในทางเมตตามหานิยม สวดวันละ 8 จบ

วันพุธ ปิ สัม ระ โส ปุ สัต พุท ชื่อคาถาพระนารายณ์เลื่อนสมุทร ใช้เสกปูนสูญฝี สวดวันละ 17 จบ

วันพุธ (ราหู) คะ พุท ปัน ทุ ธัมวะ คะ ชื่อคาถาพระนารายณ์พลิกแผ่นดิน ใช้แก้ความผิดต่างๆ สวดวันละ 12 จบ

วันพฤหัส ภะ สัม สัม วิ สะ เท ภะ ชื่อคาถาพระนารายณ์ตรึงไตรภพ ใช้ทางมหานิยม สวดวันละ 19 จบ

วันศุกร์ วา โท โน อะ มะ มะ วา ชื่อคาถาพระพุทธเจ้าตลาดหิมพานต์ ใช้ทางมหานิยม สวดวันละ 21 จบ

วันเสาร์ โส มา ณะ กะ ริ ถา โธ ชื่อคาถาพระนารายณ์ถอดจักร ใช้ในทางถอนคุณไสย สวดวันละ 10 จบ

วันอาทิตย์ อะ วิช สุ นุส สา นุส ติ ชื่อคาถาพระนารายณ์แปลงรูปใช้ทางเมตตามหานิยม สวดวันละ 6 จบ

บทสวดมนต์พระธาตุประจำปีเกิด

บทสวดมนต์พระธาตุประจำปีเกิดเนื้อหา[ซ่อน]

* 1 ปีชวด
* 2 ปีฉลู
* 3 ปีขาล
* 4 ปีเถาะ
* 5 ปีมะโรง
* 6 ปีมะเส็ง
* 7 ปีมะเมีย
* 8 ปีวอก
* 9 ปีระกา
* 10 ปีจอ
* 11 ปีกุน

ปีชวด (นมัสการ พระธาตุศรีจอมทอง วัดพระธาตุศรีจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่)

คำบูชา

นะโมพุทธายะ นะมามิ ติโลกะโมลี โลหะกูเฏ ปะติฎฐิตัง ปูชิตัง สัพพะโลเกหิ กิตติมันตัง มะโนหะรัง อะหังวันทามิ สัพพะทา อังคะวะเย ปุเรรัมเม โกวิลา รัคคะปัพพะเต สะหิเหมะคูหา คัพเภ ทักขิณะโมลี

ปีฉลู (นมัสการ พระธาตุลำปางหลวง วัดพระธาตุลำปางหลวง จังหวัดลำปาง)

คำบูชา

ยาปาตุภูตา อะตุลานุภาวาจีรัง ปะติฎฐาลัมภะ กัปปะปุเร เทเวนะ คุตตา อุตตุราภิทัยยา นะมามิ หันตัง วะระชินะธาตุง กุมาระกัสสะปะ นะลาตะธาตุโย เมฆิยะมะหาเถโร กะนะธาตุง ฐะเปติ มหาฐาเน เจติยัง ปูชิตา นะระเทเวหิ อะหังวันทามิ ธาตุโย

ปีขาล (นมัสการ พระธาตุช่อแฮ วัดพระธาตุช่อแฮ จังหวัดแพร่)

คำบูชา

โกเสยยะ ธะชัคคะ ปัพพะเต สัตตะมะโนรัมเม พุทธะ เกสาธาตุ ปะติฏฐิตา อะหังวันทามิ สัพพะทา อะหังวันทามิ ธาตุโย อะหังวันทามิ สัพพะโส

ปีเถาะ (นมัสการ พระธาตุแช่แห้ง วัดพระธาตุแช่แห้ง จังหวัดน่าน)

คำบูชา

ยาปาตุภูตา อะตุลานุภาวาจีรัง ปะติฎฐิตา นันทะกัปปะเกปุเร เทเวนะ คุตตา วะระพุทธะธาตุง จิรัง วันทามิ หันตัง ชินะธาตุโย โสตะถาคะตัง อะหังวันทามิ

ปีมะโรง (นมัสการ พระธาตุเจดีย์วัดพระสิงห์และพระพุทธสิหิงค์ วัดพระสิงห์ จังหวัดเชียงใหม่)

คำบูชา

อิติปะวะระสิหิงโต อุตตะมะยะโสปิ เตโช ยัตถะ กัตถะ จิตโตโส สักกาโร อุปาโท สะกาละพุทธะ สาละธัง โชตะยันโตวะ ทีโป สุระนะเรหิ มะหิโต ธะระมาโนยะพุทโธติ นะมามิ สิหิงคะพิมพัง สุวัณณาภิรัมมัง ลังกาชาตัง โสภาภิโสภัง สะราภิกันตัง นะมามิหัง”

ปีมะเส็ง (นมัสการ พระธาตุเจดีย์ศรีมหาโพธิ์ วัดหนองบัว จังหวัดอุบลราชธานี)

คำบูชา

ปะฐะมัง โพธิปัลลังกัง ทุติยัง อะนิมิสสะกัง ตะติยัง จังกะมะ เสฏฐัง จตุตะกัง ระตะนะฆะรัง ปัญจะมัง อะชะปาละนิโคธัง ฉัฏฐัง ราชะยะตะนัง สัตตะนัง มุจจะลิทัง อะหังวันทามิ ทูระโต (หรือจะบูชาต้นโพธิ์ตามวัดต่าง ๆ ก็ได้ คำบูชาต้นโพธิ์ “โพธิรุกเขปูชิโน”)


ปีมะเมีย (นมัสการ เจดีย์พระบรมธาตุ วัดพระบรมธาตุ จังหวัดตาก)

คำบูชา

สัมมา สัมพุทธะ นะลาตะอัฎฐิ จะตุเกสาธาตุยา คันธะวะรังฐิตัง ปะระมาธาตุ เจติยัง อะหังวันทามิ สัพพะทา


ปีวอก (นมัสการ พระธาตุพนม วัดพระธาตุพนม จังหวัดนครพนม)

คำบูชา

ปุริมายะ ทักขิณายะ ปัจฉิมายะ อุตตะรายะ เหฎฐิมายะ อุปะริมายะ ทิสายะ กะปะณะศิริสะมิง ปันพะเตมะกัสสะเปนะ ฐาปิตัง พุทธะอุรังคธาตุง สิระสา นะมามิ เสตะฉัตตัง สุวัณณะระชะตัง ระตะนัง ปะณีตัง พุทธะ อุรังคะเจติยัง อะหังวันทามิ สัพพะทา


ปีระกา (นมัสการ พระธาตุหริภุญชัย วัดพระธาตุหริภุญชัย จังหวัดลำพูน)

คำบูชา

สุวัณณะเจติยัง หะริภุญชะยัฐฐัง วะระโมลีธารัง อุรัฎฐิเสฎฐัง สะหะอังคุลิฎฐิง กัจจายะเนนา นิตะปัตตัปปะการัง สีเสนะ มัยหัง ปะระมามิธาตุง


ปีจอ (นมัสการ พระธาตุเจดีย์วัดเกตการาม จังหวัดเชียงใหม่)

คำบูชา

ตาวะติงสายะ ปุรัมเม เกสะจุฬามะณี สะรีระปัพพะตา ปูชิตา สัพพะเทวานัง ตังสิระสาธาตุ อุตตะมัง อะหังวันทามิ สัพพะทา


ปีกุน (นมัสการ พระธาตุดอยตุง จังหวัดเชียงราย)

คำบูชา

อิมัสสะมิง ภัทกะกัปเป จะตุพุทธา พุชูฌะติตะวา กะกุสะนูระ โกนาคะมะนะ กัสสะปะ โคตุมะราชะคะเห จะระติปิณะฑายะ มิถิลายะนะคะเรสิ จะรัตติ ปิณะฑายะ อะตะตีตา พุทธาเน อิมัสสะมิง ปัพพะตาคิริ ปะทะ กังนะสิทิตะวา เมตเตยยะ อะนาคะเต จะระติปิณะฑายะ ราชะคะเห อิมัสสะมิง ฐาเนนะสิทิสิริ สุภะปะวะ รังมะคะโล ตะโมลากะถามุนิราชะ สาตะระนะมามิหันตัง วะระชินะธาตุง อะหังวันทามิ สัพพะทานะตัง วะชิระธาตุโย อะระหังวันทามิ สัพพะทา

คาถาพระครูบาชุ่ม

วิวะ อะวะ สุสะตะ วิวะสวาหะ

คาถาหลวงพ่อเกษม

วันทามิ เจดิยัง สัพพัง สัพพัฎฐาเน สุปฏิษฐิตาสรีระธาตุงมหาโพธิง พุทธรูปัง
สักการัง สัทธา นาคะโลเก เทวโลเก ดาวติงเส พรหมโลเก ชมพูทีเป ลังกาทีเป
สรีระธาตุโย เกศาธาตุโย อรหันตาธาตุโย เจดิยัง คันธกุฎี จตุราศี ติสสหัสสะ ธัมมักขันธา
ปาทเจดิยัง นะระเทเวหิปูชิตา อะหังวันทามิ ฑูระโต อะหังวันทามิธาตุโย อะหังวันทามิสัพพะโส

คาถาหลวงพ่อปาน

ใช้สวดภาวนาเวลาตื่นนอน ๓ จบ เวลาใส่บาตร ๑ จบ ก่อนนอน ๓ จบ
หรือเวลาว่าง จะทำให้มีโภคทรัพย์มากมาย
พุทธะ มะอะอุ นะโมพุทธายะ (๑ จบ)
วิระทะโย วิระโคนายัง วิระหิงสา วิระทาสี วิระทาสา วิระอิตถิโย
พุทธัสสะ มาณีมามะ พุทธัสสะ สะวา โหม

คาถาหลวงพ่อสด

สัมมาอะระหัง

คาถาหลวงพ่อเดิม

คาถา บูชาเทพยดาใช้เพื่อเสริมดวงชะตา โดยผูกดวงชะตาของท่านพร้อมเขียนชื่อ นามสกุลท่านไว้ใต้ดวงชะตา
แล้ววางตั้งไว้ข้างฐานพระ ว่าคาถานี้เพื่อจะได้เกิดลาภสักการะ เป็นมงคลกับตัวท่านเอง

นะโม เม สัพพะเทวานัง
สัพพะคะระหะ จะ เทวานัง
สุริยัญจะ ปะมุญจะถะ
สะสิ ภุมโม จะ เทวานัง
วุโธ ลาภัง ภะวิสสะติ
ชีโว สุกะโร จะ มะหาลาภัง
โสโร ราหูเกตุ จะ มะหาลาภัง
สัพพะภะยัง วินาสสันติ
สัพพะทุกขัง วินาสสันติ
สัพพะโรคัง วินาสสันติ
ลักขะณา อะหัง วันทามิ
สัพพะทา สัพเพ เทวา มัง ปาละยันตุ
สัพพะทา เอเตนะ มังคะละเตเชนะ
สัพพะโสตถี ภะวันตุ เม

คาถาหลวงปู่ครูบาธรรมชัย

พุทธัง ธัมมัง สังฆัง จาติกันตัง มะระณะกัน ปาณาติกัน สารพัดกันกัน
พุทธัง อะระหัง จังงัง ภาเว สัมปะฏิจฉามิ เม สัมมุขา สัพพาหะระติ สัมมุขา
อิอะระนัง อะระหัง กุสะลา ธัมมา สัมพุทโธ ทุ สะ นะ โส นะโม พุทธายะ

คาถาหลวงปู่โอภาสี

'อิติสุคะโต อะระหังพุทโธ นะโมพุทธายะ ปะฐะวีคงคา พระภุมิมะเทวา ขะมามิหัง'

ภาวนาทุกครั้งที่นึกขึ้นมาได้ อย่างน้อยควร 2 ครั้ง คือ เมื่อตื่นนอนตอนเช้า และหลังสวดมนต์ก่อนนอน ครอบครัวอยู่เย็นเป็นสุข

คาถาหลวงปู่ศุข

สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติ มะอะอุ

(ขึ้นรถ ลงเรือ ขึ้นเครื่องบิน ท่องเสมอ ป้องกันภัยพิบัติ ฯ)

คาถาหลวงปู่มั่น

คาถาพระพุทธเจ้าตอนชนะมาร (ใช้ท่องเพื่อป้องกันอันตรายทั้งปวง ศักดิ์สิทธิ์ยิ่งนัก)

ปัญจะมาเร ชิโน นาโถ ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง จะตุสัจจัง ปะกาเสติ ธัมมะจักกัง
ปะวัตตะยิ เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เม ชะยะมังคะลัง

บทสวดคาถาชินบัญชร

คาถาชินบัญชร โดยสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี)
พระคาถานี้เป็นคาถาศักดิ์สิทธิ์ตกทอดมาจากลังกา
ท่านเจ้าประคุณสมเด็จฯค้นพบในคัมภีร์โบราณและได้ดัดแปลงแต่งเติมให้ดีขึ้นเป็นเอกลักษณ์พิเศษ
ผู้ใดสวดภาวนาพระคาถานี้เป็นประจำสม่ำเสมอจะทำให้เกิดความสิริมงคลแก่ตนเอง
ศัตรูไม่กล้ากล้ำกราย มีเมตตามหานิยม ขจัดภัยตลอดจนคุณไสยต่างๆ
ก่อนเจริญภาวนาให้ตั้งนะโม ๓ จบ แล้วระลึกถึงหลวงปู่โตและตั้งคำอธิษฐานแล้วเริ่มสวด

* เริ่มสวด นโม 3 จบ ( นึกถึงหลวงปู่โตแล้วตั้งอธิษฐาน )

ปุตตะกาโมละเภปุตตัง ธะนะกาโมละเภธะนัง
อัตถิกาเยกายะญายะ เทวานังปิยะตังสุตตะวา
อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณ
มรณังสุขัง อะระหังสุคะโต นะโมพุทธายะ

* เริ่มบทพระคาถาชินบัญชร

1. ชะยาสะนากะตา พุทธา เชตวา มารัง สะวาหะนัง
จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา.
2. ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา
สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเกเต มุนิสสะรา.
3. สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน
สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร.
4. หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะทักขิเณ
โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก.
5. ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะ ราหุโล
กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก.
6. เกสันเต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโย วะ ปะภังกะโร
นิสินโน สิริสัมปันโน โสภิโต มุนิปุงคะโว
7. กุมาระกัสสโป เถโร มะเหสี จิตตะ วาทะโก
โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิคุณากะโร.
8. ปุณโณ อังคุลิมาโร จะ อุปาลี นันทะ สีวะลี
เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเต ติละกา มะมะ.
9. เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา
เอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา
ชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา.
10. ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะ สุตตะกัง
ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง
11. ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะ สุตตะกัง
อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา
12. ชินา นานาวะระสังยุตตา สัตตัปปาการะ ลังกะตา
วาตะปิตตาทะสัญชาตา พาหิรัช ฌัตตุปัททะวา.
13. อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะ เตชะสา
วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร.
14. ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะฮี ตะเล
สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา.
15. อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข
ชินานุภาเวนะ ชิตุปัททะโว
ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆ
สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโย
สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะ ปัญชะเรติ.

บทสวดมนต์หลวงปู่ทวด

นะโม โพธิสัตโต อาคันติมายะ อิติ ภะคะวา

(๓ จบ)

บทสวดมนต์พระพุทธชินราช

ตั้งนะโม 3 จบ
สัตจะ กิตตะ กัตตัง นะยานัง
จะตุทา จะตะทา กะตะติ วัตตัง
ทวาทะสาการัง ธัมมะจักกัง มะเหสิโน
มะอะอุ สิปะมะติตัง เต นานะ อะนะติยินัง

คาถานี้ ผู้วิเศษจารึกไว้ในแผ่นทองคำบรรจุไว้ที่ แท่นพระพุทธชินราช วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ จังหวัดพิษณุโลก
เป็นคาถามหาวิเศษท่องบ่นเจริญภาวนาประจำจะคุ้มภัย ๑๐๘ ประการ ทั้งยังเป็นเมตตามหานิยม วิเศษอีกด้วยฯ
ให้น้อมรำลึกถึงองค์ หลวงพ่อพระพุทธชินราช คาถานี้ ได้จากสมุดเวทมนต์คาถาของหลวงพ่อพิธ วัดขมัง พระคณาจารย์เรืองเวทย์เมืองพิจิตรในอดีต ท่านเคยมาอยู่จำพรรษาวัดพระศรีรัตนมหาธาตุได้บันทึกเอาไว้

บทสวดมนต์หลวงพ่อโสธร

ตั้งนะโม ๓ จบ แล้วว่าคาถานี้ทุกวันจะปลอดภัย ป้องกันอันตรายทั้งปวง ร่มเย็นเป็นสุขตลอดชีวิต
อีกทั้งมีเมตตา มหานิยม ซื้อง่ายขายคล่อง นำมาซึ่งโภคทรัพย์
นะ ทรงฟ้า โม ทรงดิน พุทธ ทรงสินธุ์ ธา ทรงสมุทร ยะ ทรงอากาศ
พุทธังแคล้วคลาด ธัมมังแคล้วคลาด สังฆังแคล้วคลาด ศัตรูพาลวินาศสันติ
นะกาโร กุกกุสันโธ สิโรมัชเฌ โมกาโร โกนาคะมะโน นานาจิตเต พุทธกาโร กัสสะโป
พุทโธ จะ ทะเวเนเต ธา กาโร ศรีศากกะยะมุนี โคตะโม ยะกันเน ยะกาโร อะริยะ เมตตรัยโย ชิวหาทีเต ปัญจะพุทธา นะมามิหัง
พุทธะบูชา มะหาเตชะวันโต ธัมมะบูชา มะหาปัญโญ สังฆะบูชา มะหาโภคะวะโห อะระหังพุทโธ อิติปิโสภะคะวา นะมามิหัง

(วัดโสธรวรารามวรวิหาร อำเภอแปดริ้ว จังหวัดฉะเชิงเทรา)